การพัฒนาขีดความารถของนักศึกษาให้มีประสบการณ์รองรับการค้าสู่ประชาคมโลก
สำนักงานศึกษาธิการจัดหวัดชลบุรี ได้มีนโยบายในการพัฒนาศักยภาพนักเรียน นักศึกษาทั้งในสถาบันอุดมศึกษา และระดับมหาวิทยาลัย ในการผลักดันให้สถานศึกษาพัฒนาศักยภาพของนักศึกษา ให้มีความพร้อมเข้าสู่ตลาดแรงงาน ที่กำลังมอง หางานนิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง โดยให้ความสำคัญในการจัดการเรียน การสอนที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนจบออกไปมีงานทำ และสามารถยกระดับขีดความสามารถของตัวเองไปพัฒนาสถานประกอบการในกลุ่มอุตสาหกรรมได้อย่างมีศักยภาพ รองรับการค้าระหว่างประเทศสู่ประชาคมโลก
โดย การหางานนิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง ในปัจจุบันมีความต้องการแรงงานเข้าทำงานเป็นจำนวนมาก ซึ่งมีสถานประกอบการอยู่ในนิคมกว่า 111 โรงงาน เป็นสถานประกอบการขนาดใหญ่ มีความต้องการแรงงานไปทำงาน มากกว่า 300 อัตรา หลากหลายสาขาอาชีพ ทั้งระดับพนักงานฝ่ายผลิต ช่างชำนาญงานและระดับหัวหน้างานคุมงานระดับสูง อีกทั้งยังต้องการแรงงานใหม่ๆ ที่มีคุณภาพในด้านประสบการณ์ทำงาน ที่ลดปัญหาการสอนงาน หรือลดขั้นตอนการอบรมทดลองงานของพนักงานใหม่ โดยหากได้กลุ่มพนักงานที่พอมีประสบการณ์ หรือมีความเชี่ยวชาญในงานอยู่แล้ว ก็สามารถปฏิบัติงานได้อย่างรวดเร็ว ลดค่าใช้จ่ายแก่สถานประกอบการในการสอนงาน สร้างให้กลไกการทำงานภายในไม่หยุดชะงักเมื่อขาดพนักงาน
ซึ่งความต้องการแรงงาน นอกจากจะมีความต้องการพนักงานที่หางานนิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง เป็นจำนวนมากแล้ว สถานประกอบการยังต้องการพนักงานที่มีประสบการณ์ในการทำงาน มากกว่ากลุ่มนักเรียนนักศึกษาที่จบใหม่ ทำให้กลุ่มพนักงานที่จบใหม่ในอดีตไม่ได้รับคัดเลือกเข้าทำงาน เมื่อเทียบกับพนักงานที่มีประสบการณ์ในการผ่านงานมาก่อน โดยสถานประกอบการได้มีการปรึกษาหารือกับภาคการศึกษา ในกลุ่มอุดมศึกษา และระดับมหาวิทยาลัย ที่มีนักศึกษาจบการศึกษาในแต่ละปีหลายพันคน เข้าสู่ตลาดแรงงานกลุ่มนิคมแบบไม่มีประสบการณ์ ไร้ทักษะและความเชี่ยวชาญระดับมืออาชีพ ก่อให้เกิดปัญหาการว่างงานของนักศึกษาจบใหม่เป็นจำนวนมาก ทำให้สถานศึกษาตระหนักถึงความสำคัญในการพัฒนาศักยภาพของตัวนักศึกษา ที่ความรู้ ความสามารถ และความเชี่ยวชาญในสาขาวิชาที่เรียน ได้พัฒนาสมรรถนะขีดความสามารถและ สามารถทำงานได้จริง ในสถานประกอบการได้ไม่ติดขัด หรือก่อปัญหาในการฝึกอบรมของสถานประกอบการ ทำให้ธุรกิจขับเคลื่อนไปได้อย่างรวดเร็ว ส่งผลให้แต่ละสถานประกอบการมีความต้องการจำนวนนักศึกษามากขึ้น ในสถานศึกษาที่มีคุณภาพ
เมื่อนักศึกษามีศักยภาพและความชำนาญเชี่ยวชาญ เป็นที่ต้องการของตลาดแรงงานได้แล้วนั้น ผู้สมัครงานหรือพนักงานที่มองหางานนิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง ก็จะมีอำนาจต่อรองในเรื่องเงินเดือนและสวัสดิการ ที่เหมาะสมกับความต้องการของนักศึกษาที่จะไปเป็นพนักงานในอนาคตได้ เป็นแรงงานที่มีคุณภาพชีวิตที่ดี และก่อให้เกิดความเจริญก้าวหน้าในการทำงาน พัฒนาให้ตัวเองเป็นพนักงานในระดับหัวหน้างานได้ในอนาคต โดยสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดชลบุรีได้มีการวางแผนพัฒนาระบบการศึกษาเชิงคุณภาพ มีการจัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อเสริมสร้างศักยภาพในด้านวิชาชีพ การพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนให้เพิ่มเวลาการปฏิบัติงานจริงของนักศึกษา มากกว่าเรียนแบบทฤษฎีในห้องเรียน การเรียนแบบทวิภาคี หรือโครงการฝึกงานที่ระยะเวลานานขึ้น เพื่อให้นักศึกษาได้มีเวลาในการทำงานจริงในสถานประกอบการมากขึ้น การจัดการอบรมเฉพาะแต่ละหลักสูตร รวมทั้งจัดกิจกรรมการประกวดการแข่งขัน ในสาขาวิชาต่างๆ คณะต่างๆ ในระดับอำเภอ และระดับจังหวัด ส่งเสริมให้นักศึกษามีประสบการณ์ในการแข่งขันมากขึ้น นอกจากนี้แล้วยังคัดเลือกและฝึกอบรมครู อาจารย์ผู้สอน นักศึกษาให้มีความรู้ ความสารถที่เหมาะสน สามารถสอนให้นักศึกษาเข้าใจและสามารถพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาแต่ละคนให้มีความสามารถในแบบฉบับที่ตนเองถนัดได้อย่างมีศักยภาพ โดยครู อาจารย์ผู้สอน จะต้องผ่านเกณฑ์การประเมินจากหน่อยงานสถานศึกษาที่ประจำอยู่ และมีการประเมินการสอนตลอดการสอนแต่ละปี เพื่อเป็นการสร้างความมั่นใจต่อสถานประกอบการ โดยปัจจัย 4 ส่วนที่มีองค์ประกอบทำให้นักศึกษามีศักยภาพในการทำงาน เมื่อเข้าสู่ตลาดแรงงาน
1.นโยบายของสถานศึกษา
2.ความพร้อมและความเชี่ยวชาญของครู อาจารย์ผู้สอนฝึกอบรม
3.ความพร้อมของนักเรียน นักศึกษา
4.งบประมาณสนับสนุน หรือการช่วยเหลือของภาคเอกชน
โดยทั้ง4 ส่วนนี้ เป็นปัจจัยสู่ความสำเร็จของการบูรณาการการเรียนรู้กับการทำงานระหว่างสถาบันอุดมศึกษากับสถานประกอบการ ในการพัฒนาด้านสมรรถนะของนักศึกษาในอนาคตต่อไป
ดังนั้น นับได้ว่าการส่งเสริมของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดชลบุรี ถือเป็นการเริ่มต้นของเมล็ดพันธุ์ที่ดี ในการวางรากฐานของระบบการศึกษา การฝึกสอนหรือ อบรม และพัฒนาฝีมือ ให้นักเรียน นักศึกษา มีการเรียนที่เน้นการปฏิบัติงานจริง ได้เจอปัญหาในการทำงานจริงๆ และได้เสริมสร้างทักษะ ความรู้ ความคิดสร้างสรรค์และแนวทางในการแก้ปัญหา ถึงงานที่ได้รับมอบหมาย ก่อให้เกิดการเรียนรู้ในสายอาชีพที่ถนัด และมีขีดความสามารถที่แข่งขันกับ ผู้หางานในตลาดแรงงานได้ เพราะสุดท้ายแล้วทุกคนก็ต้องถูกคัดเลือกเข้าทำงานในสถานประกอบการแต่ละแห่ง แต่การหางานนิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบังนั้นถือว่าเป็นบทบาทสำคัญที่จะทำให้สภาพเศรษฐกิจในภาคตะวันออกของประเทศไทยมีความก้าวหน้า สามารถรองรับความเจริญเติบโตและ เปิดรับการค้าสู่ประชาคมโลกได้ ก็ต่อเมื่อเราได้พัฒนาคน พัฒนาทรัพยากรบุคคลของเราให้มีความรู้ ความสามารถ ที่มีประสบการณ์เทียบเท่าแรงงานสากลได้ ก่อให้เกิดความต้องการแรงงานเป็นจำนวนมากภายในจังหวัดชลบุรี ลดสภาวะการว่างงานของกลุ่มนักศึกษาจบใหม่ ทั้งในระดับอุดมศึกษาและ ระดับปริญญาตรีที่จบใหม่ ส่งผลให้สภาพเศรษฐกิจของประเทศไทยมีเสถียรภาพขึ้น พร้อมแข่งขันกับประเทศคู่แข่งขันในการค้าระดับประเทศได้